วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่3

วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 20/11/56
ครั้งที่3 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
ความรู้-เนื้อหาที่ไดรับจากการเรียนสัปดาห์

จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-เพื่อให้เด็กเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
-เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการการหาคำตอบ
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มี 7 ทักษะ
1.การสังเกต Observation

-การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆอย่างรวมกันในการเรียนรู้
2.การจำแนกประเภท Classifying 
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการแบ่งปัน
-เกณณฑ์การจำแนก คือ ความเหมือน ความแตกต่างและความสัมพันธ์

ตัวอย่าง

3.การเปรียบเทียบ Comparing 
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
4.การจัดลำดับ Ordaring 
-เป็นทักษะการเปรีบยเทียบขั้นสูง
-การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์

5.การวัด Measurement
-มีความสัมพันธ์กับคาวมสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก

ตัวอย่าง

6.การนับ Counting 
-เด็กชอบการนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7.รูปทรงและขนาด Sharp and Size 
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจะเข้าโรงเรียน

กิจกรรมท้ายชั่วโมงวาดภาพในการเดินทางมามหาวิทยาลัย มา3สถานที่




สิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรมนี้
-ได้จำแนกประเภทของแต่ละสถานที่ได้
-ได้สังเกตการเดินทางมามหาวิทยาลัย
-ได้การนับจากสถานที่เราผ่านมามหาวิทยาลัย

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-ได้เรียนรู้ในการเรียงลำดับเหตุการณ์ ต่างๆได้
-สามารถนำไปใช้สอนเด็กวิชาคณิตศาสตร์ไ้ด้




บันทึกอนุทินครั้งที่2

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : ตฤณ ถิ่นแจ่ม
วันที่ 13 / 11 /56 
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
  
1.ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส Sensorimotor Stage แรกเกิด-2ปี
-สามารถจดจำสิ่งต่างๆได้และบอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2.ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล Preoperational Stage 2-7ปี
-เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด น้ำหนัก รูปทรงและความยาว
-เล่นบทยาทสมมุติซึ่งเป็นพื้นฐานของพัฒนาความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้น เช่น ตัวเลข ตัวอักษร
หลักการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย สำรวจแบบต่างๆผ่านวัตถุ สื่ออุปกรณ์
-เชื่อมโยงการเรียนรู้คณิตศาสตาร์ในชีวิตประจำวัน เช่น การซื้อของ ขายของ
-ใชำคำถามปลายเปิด
เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย
-การนับ
-เรียงลำดับ
-การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร
-การจับคู่1:1

คำศัพท์เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
-ตัวเลข :น้อย น้อยมาก มาก ไม่มี ทั้ง หมด
-ขนาด  :ใหญ่ ใหญ่ที่สุด คล้าย สองเท่า
-รูปร่าง  :สามเหลี่ยม วงกลม สีเหลี่ยม โค้งพท์เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์



กิจกรรมท้ายชั่วโมงสัตว์ที่มีขามากที่สุก ดิฉันเลือกมด มีจำนวน10ขา
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-สามารถนำไปจัดในการเรียนการสอนระดับปฐมวัยได้
-เด็กจะได้ในการนับเลข และจำนวน เช่น เด็กได้การนับโดยนับขาของมด
-เด็กสามารถได้รูปทรง


วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่1


วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 6/11/56
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.

      - ในสัปดาห์นี้ อาจารย์ได้ให้ทำ My  Map เกี่ยวกับ หัวข้อ การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ตามความคิดความเข้าใจของเราเอง


 การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์     
-ให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
-เด็กสามารถสังเกตและจำแนกสิ่งต่างๆได้จากกิจกรรม
-เด็กสามารถรู้จักทางด้านตัวเลข และจำนวน  เช่น การนับเลข การรู้ค่าของจำนวน
-มีภาพประกอบหรือสื่ออื่นๆเพื่อดึงดูดความสนใจ
-จัดทำสื่อไว้ในห้องเรียน เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้ 

-ให้เด็กเรียนรู้จากชีวิตประจำวันของตนหรือผู้ปกครอง เช่น  การซื้อของ 

-ทำกิจกรรมให้เด็กดูก่อน เช่น การเล่นเกม  นับเลข หรือ อ่านเขียน เป็นต้น



พัฒนาการที่เด็กได้รับ


       เด็กจะได้ในการเสริมทักษะทาง การคิด การอ่าน การเขียน และจำนวน ตัวเลข เด็กสามารถพัฒนาด้านสติปัญญาของตนเองในการจัดกิจกรรมต่างๆให้กับเด็ก