วันอังคารที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่5

วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 26/11/56

ครั้งที่4 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.

สิ่งที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้
      สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอโดยให้สื่อในการนำเสนอ เพื่อที่จะเข้าใจเนื้อหาได้มากขึ้น เมื่อได้เห็นรูปภาพ หรือสื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอ
กลุ่มที่1 จำนวนและการดำเนินการ
         ในกลุ่มจำนวนและดำเนินการ ก็ได้นำสื่อมานำเสนอ ความเปรียบเทียบของสิ่งของ เช่นผลไม้ เปรียบเทียบความแตกต่างของผลไม้ และ รูปสัตว์ที่มีส่วนประกอบของสัตว์ที่หายไปเพื่อที่จะให้เด็กได้คิดและนำมาเติมส่วนที่หาย และการนำเสนอได้มีการร้องเพลงเพื่อที่จะให้เด็กตื่นตัวและให้ความสนใจกับสิ่งที่จะนำเสนอได้อย่างดีและให้เด็กมีส่วนร่วมกับกิจกรรม
ลุ่มที่2รูปทรงเรขาคณิต
   กลุ่มรูปทรงเรขาคณิต การนำเสนอดีมาก พูดให้ความเข้าใจดี มีสื่อมาสอนชัดเจน มีรูปทรงและรูปทรงที่ใช้ในชีวิตประจำวันของเด็ก  อย่างเช่นรูปทรงวงกลม คู่กับหมวก รูปทรงสี่เหลี่ยม คู่กับ กระเป๋า เพื่ที่จะให้เด็กเข้าใจและสามารถเรียนรู้จากชีวิตประจำวันได้

กลุ่มที่3 การวิเคาะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
         กลุ่มดิฉันก็ได้นำสื่อและสาธิตการสอนอย่างเข้าใจดี ที่เกี่ยวกับความน่าจะเป็น คือ การสุ่มหยิบลูกปิงปอง 3 สี ในถุงและความน่าจะเป็นจะได้สีอะไร ถ้าอนุบาล1 เราอาจใช้ลูกปิงปอง1 ลูก อนุบาล2 อาจ2 ลูก และอนุบาล3 เราอาจจะนำลูกปิงปองมา 3 ลูก แล้วให้เด็กๆทายว่าจะได้ลูกปิงปองสีอะไรบ้าง

กลุ่มที่4พีชคณิต
     กลุ่มพีชคณิตได้นำเสนอ มีภาพประกอบ และให้เติมความสัมพันธ์ของรูปภาพ
กลุ่มที่5 การวัด
   กลุ่มการวัด ได้นำสื่อมาให้เพื่อนและอธิบายรูปภาพที่เพื่อนนำมาเสนอ อย่างเช่าน ภาพผลไม้ที่มีขนาดที่ต่างกัน และการวัดดินสอ กับตุ๊กตา ว่าดินสอกี่แท่งจะมีความสูงเท่ากับตุ๊กตา กลุ่มนี้สามารถอธิบายได้เข้าใจมากขึ้นจากการนำสื่อมาประกอบการนำเสนอ
กิจกรรมท้ายชั่วโมง





ประโยชน์ที่ได้รับและการนำไปใช้
   -สามรถนำไปใช้ในการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้
   - เด็กสาสรรถรู้จักรูปทรงต่างของดอกไม้ได้
   - เด็กสามารถเปรียบเทียบกับของเพื่อน
   -เด็กได้เรียนรู้จากการนับของกลีบดอกไม้
   



บันทึกอนุทินครั้งที่4


วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 26/11/56
ครั้งที่4 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.

สิ่งที่ได้รับจากการเรียนสัปดาห์นี้

         - ในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้ออกนำเสนอกลุ่มที่1 เรื่องจำนวนและดำเนินการ

         การเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับปฐมวัย มุ่งหวังให้เด็กทุกคนได้เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ อันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา โดยกำหนดสาระหลักที่จำเป็นสำหรับเด็ก ได้แก่ จำนวนและการดำเนินการ จำนวน การรวมกลุ่ม และการแยกกลุ่ม การวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา เรขาคณิต ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ พีชคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์
กลุ่มที่2 การวัด 

1. เพื่อให้เด็กๆได้รู้จัก รูปทรงและรูปร่าง
2. เพื่อให้เด็กได้รู้จักความแตกต่างระหว่างรูปร่างกับรูปทรง
3.เพื่อให้เด็กได้รู้จักการชั่งน้ำหนักและการกะประมาณ


กลุ่มที่3 เรขาคณิต
       - สอนให้เด็กได้รู้จักรูปทรงต่างแต่ละชนิดเพื่อจะให้ดำรงในชีวิตของเด็กได้ เด็กสามารถเรียนรู้จากชีวิตประจำวันได้
กลุ่มที่4 พีชคณิต
      -พีชคณิตสำหรับเด็กปฐมวัยคือการเรียงลำดับ ให้เด็กเรียงลำดับสิงของ อย่างเช่น
กลุ่มที่5การวิเคาระห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
        - ความน่าจะเป็นของเด็กปฐมวัย คือ 
            ใช้ทักษะทางคณิตศาตร์ เช่น การสังเกต คือ การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกันในการเรียนรู้โดยเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์

การนำความรู้ไปใช้
- สามารถนำทักษะที่เพื่อนนำเสนอไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยได้
- สามารถนำสื่อที่ได้รับมา นำไปสอนเด็กเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ และเข้าใจอย่างแท้จริง
- สามรถนำอุปกรณ์ของเด็กให้เด็กได้เรียนรู้จากของจริง เช่น ขนาดของผลไม้ 

 


วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่3

วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 20/11/56
ครั้งที่3 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
ความรู้-เนื้อหาที่ไดรับจากการเรียนสัปดาห์

จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-เพื่อให้เด็กเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
-เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการการหาคำตอบ
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มี 7 ทักษะ
1.การสังเกต Observation

-การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆอย่างรวมกันในการเรียนรู้
2.การจำแนกประเภท Classifying 
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการแบ่งปัน
-เกณณฑ์การจำแนก คือ ความเหมือน ความแตกต่างและความสัมพันธ์

ตัวอย่าง

3.การเปรียบเทียบ Comparing 
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
4.การจัดลำดับ Ordaring 
-เป็นทักษะการเปรีบยเทียบขั้นสูง
-การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์

5.การวัด Measurement
-มีความสัมพันธ์กับคาวมสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก

ตัวอย่าง

6.การนับ Counting 
-เด็กชอบการนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7.รูปทรงและขนาด Sharp and Size 
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจะเข้าโรงเรียน

กิจกรรมท้ายชั่วโมงวาดภาพในการเดินทางมามหาวิทยาลัย มา3สถานที่




สิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรมนี้
-ได้จำแนกประเภทของแต่ละสถานที่ได้
-ได้สังเกตการเดินทางมามหาวิทยาลัย
-ได้การนับจากสถานที่เราผ่านมามหาวิทยาลัย

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-ได้เรียนรู้ในการเรียงลำดับเหตุการณ์ ต่างๆได้
-สามารถนำไปใช้สอนเด็กวิชาคณิตศาสตร์ไ้ด้




บันทึกอนุทินครั้งที่2

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : ตฤณ ถิ่นแจ่ม
วันที่ 13 / 11 /56 
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
  
1.ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส Sensorimotor Stage แรกเกิด-2ปี
-สามารถจดจำสิ่งต่างๆได้และบอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2.ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล Preoperational Stage 2-7ปี
-เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด น้ำหนัก รูปทรงและความยาว
-เล่นบทยาทสมมุติซึ่งเป็นพื้นฐานของพัฒนาความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้น เช่น ตัวเลข ตัวอักษร
หลักการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย สำรวจแบบต่างๆผ่านวัตถุ สื่ออุปกรณ์
-เชื่อมโยงการเรียนรู้คณิตศาสตาร์ในชีวิตประจำวัน เช่น การซื้อของ ขายของ
-ใชำคำถามปลายเปิด
เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย
-การนับ
-เรียงลำดับ
-การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร
-การจับคู่1:1

คำศัพท์เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
-ตัวเลข :น้อย น้อยมาก มาก ไม่มี ทั้ง หมด
-ขนาด  :ใหญ่ ใหญ่ที่สุด คล้าย สองเท่า
-รูปร่าง  :สามเหลี่ยม วงกลม สีเหลี่ยม โค้งพท์เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์



กิจกรรมท้ายชั่วโมงสัตว์ที่มีขามากที่สุก ดิฉันเลือกมด มีจำนวน10ขา
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-สามารถนำไปจัดในการเรียนการสอนระดับปฐมวัยได้
-เด็กจะได้ในการนับเลข และจำนวน เช่น เด็กได้การนับโดยนับขาของมด
-เด็กสามารถได้รูปทรง


วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่1


วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน : ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 6/11/56
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.

      - ในสัปดาห์นี้ อาจารย์ได้ให้ทำ My  Map เกี่ยวกับ หัวข้อ การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ตามความคิดความเข้าใจของเราเอง


 การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์     
-ให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
-เด็กสามารถสังเกตและจำแนกสิ่งต่างๆได้จากกิจกรรม
-เด็กสามารถรู้จักทางด้านตัวเลข และจำนวน  เช่น การนับเลข การรู้ค่าของจำนวน
-มีภาพประกอบหรือสื่ออื่นๆเพื่อดึงดูดความสนใจ
-จัดทำสื่อไว้ในห้องเรียน เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้ 

-ให้เด็กเรียนรู้จากชีวิตประจำวันของตนหรือผู้ปกครอง เช่น  การซื้อของ 

-ทำกิจกรรมให้เด็กดูก่อน เช่น การเล่นเกม  นับเลข หรือ อ่านเขียน เป็นต้น



พัฒนาการที่เด็กได้รับ


       เด็กจะได้ในการเสริมทักษะทาง การคิด การอ่าน การเขียน และจำนวน ตัวเลข เด็กสามารถพัฒนาด้านสติปัญญาของตนเองในการจัดกิจกรรมต่างๆให้กับเด็ก